เล่มรายงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ประจำปีการศึกษา 2551
 การประเมินผลการดำเนินงานตามรายองค์ประกอบคุณภาพ 
องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนงาน
ดัชนีที่ 1.1 มีการกำหนดปรัชญา หรือปณิธานตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ์แผนดำเนินงาน และมีการกำหนดตัวบ่งชี้เพื่อวัดความสำเร็จของการ
               ดำเนินงานตามแผนให้ครบทุกภารกิจ
ดัชนีที่ 1.2 ร้อยละของการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ของการปฏิบัติงานที่กำหนด
ดัชนีที่ 1.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติิิิ
องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน
ดัชนีที่ 2.1 มีระบบและกลไกในการพัฒนาและบริหารหลักสูตร
ดัชนีที่ 2.2 มีกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ดัชนีที่ 2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ซึ่งบุคคลองค์กร และชุมชนภายนอกมีส่วนร่วม
ดัชนีที่ 2.4 จำนวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
ดัชนีที่ 2.5 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาตรีปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า ต่ออาจารย์ประจำ
ดัชนีที่ 2.6 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ 
ดัชนีที่ 2.7 มีกระบวนการส่งเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย์์
ดัชนีที่ 2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนให้อาจารย์ประจำทำการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ดัชนีที่ 2.9 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ี
ดัชนีที่ 2.10 ร้อยละของบัณฑิตที่ได้รับเงินเดือนเริ่มต้นเป็นไปตามเกณฑ
ดัชนีที่ 2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้บัณฑิต
ดัชนีที่ 2.12 ร้อยละของนิสิตหรือศิษย์เก่าที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปีที่ผ่านมาที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม
                 จริยธรรม กีฬา สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมในระดับชาติหรือนานาชาต
ดัชนีที่ 2.13 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรบัณฑิต ศึกษาซึ่งมีคุณสมบัติเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่ทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ
ดัชนีที่ 2.14 จำนวนวิทยานิพนธ์และผลงานวิชาการของนิสิตที่ได้รับรางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติภายในรอบปีการศึกษา 
ดัชนีที่ 2.15 ร้อยละของจำนวนบทความจากวิทยานิพนธ์หรือเทียบเท่าของนิสิตบัณฑิตศึกษาที่ตีพิมพ์ต่อจำนวนวิทยานิพนธ์หรือเทียบเท่าทั้งหมด
ดัชนีที่ 2.16 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด
ดัชนีที่ 2.17 ระดับความพึงพอใจของนิสิตต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์ และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ดัชนีที่ 2.18 ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ใช้ในระบบห้อง สมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์สารสนเทศต่อนิสิต
องค์ประกอบที่ 3 การพัฒนานิสิต
ดัชนีที่ 3.1 มีการจัดบริการแก่นิสิตและศิษย์เก่า
ดัชนีที่ 3.2 มีการส่งเสริมกิจกรรมนิสิตที่ครบ ถ้วนและสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค
ดัชนีที่ 3.3 ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา
ดัชนีที่ 3.4 ร้อยละของนิสิตที่เข้าร่วมกิจกรรมโครงการพัฒนานิสิตต่อจำนวนนิสิตทั้งหมด
องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย
ดัชนีที่ 4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสร้างสรรค์์์
ดัชนีที่ 4.2 มีระบบบริหารจัดการความรู้จากงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
ดัชนีที่ 4.3 จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์จากภายในมหาวิทยาลัยต่อจำนวนอาจารย์ประจำและบุคลากรวิจัย
ดัชนีที่ 4.4 จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์จากภายนอกมหาวิทยาลัยต่อจำนวนอาจารย์ประจำและบุคลากรวิจัย
ดัชนีที่ 4.5 ร้อยละของงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ และ/หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
                ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและบุคลากรวิจัย
ดัชนีที่ 4.6 จำนวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาหรืออนุสิทธิบัตรในปีการศึกษานั้น
ดัชนีที่ 4.7 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ิ                
                ต่ออาจารย์ประจำและบุคลากรวิจัย
ดัชนีที่ 4.8 ร้อยละของอาจารย์ประจำและบุคลากรวิจัยที่ได้รับทุนทำวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยต่อ
                อาจารย์ประจำและบุคลากรวิจัย
ดัชนีที่ 4.9 ร้อยละของ อาจารย์ประจำและบุคลากรวิจัยที่เข้าร่วมประชุมวิชาการ และ/หรือนำเสนอผลงานวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ
องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม
ดัชนีที่ 5.1 ีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแก่สังคมตามเป้าหมายของมหาวิทยาลัย
ดัชนีที่ 5.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีส่วนร่วมในการให้บริการทางวิชาการแก่สังคมเป็นที่ปรึกษาเป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกมหาวิทยาลัย
                เป็นกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ
ดัชนีที่ 5.3 ร้อยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม
                ชุมชนประเทศชาติ และนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ
ดัชนีที่ 5.4 มีการนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียน การสอน และการวิจัย
ดัชนีที่ 5.5 ค่าใช้จ่ายและมูลค่าของหน่วยงานในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมต่ออาจารย์ประจำ 
ดัชนีที่ 5.6 รายรับในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพของมหาวิทยาลัยต่ออาจารย์ประจำ
องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ดัชนีที่ 6.1 มีระบบและกลไกในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ดัชนีที่ 6.2 ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมในการอนุรักษ์พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมต่อจำนวนนิสิต  
ดัชนีที่ 6.3 ร้อยละของค่าใช้จ่ายและมูลค่าที่ใช้ในการอนุรักษ์พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมต่องบดำเนินการ
องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ
ดัชนีที่ 7.1สภามหาวิทยาลัยใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ และสามารถผลักดันมหาวิทยาลัยให้แข่งขันได้ในระดับสากล
ดัชนีที่ 7.2 ภาวะผู้นำของผู้บริหารทุกระดับของมหาวิทยาลัย
ดัชนีที่ 7.3 มีการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่องค์การเรียนรู้ โดยอาศัยผลการประเมินจากภายใน และภายนอก
ดัชนีท 7.4 ีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนา และธำรงรักษาไว้ให้บุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
ดัชนีที่ 7.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย
ดัชนีที่ 7.6 ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัย
ดัชนีที่ 7.7 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับรางวัลผลงานทางวิชาการ หรือวิชาชีพในระดับชาติ หรือนานาชาติ   รางวัลด้านการวิจัย
ดัชนีที่ 7.8 ีการนำระบบบริหารความเสี่ยงมาใช้ในกระบวน การบริหารการศึกษา
ดัชนีที่ 7.9 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวบ่งชี้ และเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ ระดับบุคคล 
ดัชนีที่ 7.10 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ดัชนีที่ 7.11 การใช้ทรัพยากรภายในและภาย นอกมหาวิทยาลัยร่วมกัน
ดัชนีที่ 7.12 งบประมาณสำหรับการพัฒนาคณาจารย์ทั้งในประเทศและต่างประเทศต่ออาจารย์ประจำ
ดัชนีที่ 7.13 ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนา ความรู้ และทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและต่างประเทศ
งค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ
ดัชนีที่ 8.1 มีระบบ และกลไกในการจัดสรร การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ
ดัชนีที่ 8.2 ร้อยละของเงินรายได้จริงจากภายนอกทั้งหมดต่อรายรับจริงทั้งหมด
ดัชนีที่ 8.3 สินทรัพย์ถาวรต่อจำนวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเท่า
ดัชนีที่ 8.4 ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเท่า
ดัชนีที่ 8.5 ร้อยละของเงินเหลือจ่ายสุทธิต่องบดำเนินการ
องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
ดัชนีที่ 9.1 มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
ดัชนีที่ 9.2 มีระบบและกลไกการให้ความรู้และทักษะด้านการประกันคุณภาพแก่นิสิต
ดัชนีที่ 9.3 ระดับความสำเร็จของการประกันคุณภาพภายใน